เป็นคลาสอเนกประสงค์ที่รวมการจัดการอาเรย์,สตริง,ยูอาร์แอล อื่นๆ
ฟังก์ชัน array_add
ใช้เพิ่ม key / value ลงในอาเรย์ถ้าไม่มี key นั้นอยู่
$array = array('foo' => 'bar');
$array = array_add($array, 'key', 'value');
ฟังก์ชัน array_divide
จะทำการแบ่งอาเรย์ที่ส่งเข้าไปออก เป็นสองก้อน ก้อนหนึ่งเป็น key ก้อนหนึ่งเป็น value
$array = array('foo' => 'bar');
list($keys, $values) = array_divide($array);
ฟังก์ชัน array_dot
จะทำการแผ่อาเรย์หลายมิติ ออกเป็นมิติเดียว โดยเราจะใช้เครื่องหมายดอทในการเข้าถึงหลังจากใช้ฟังก์ชันแแล้ว
$array = array('foo' => array('bar' => 'baz'));
$array = array_dot($array);
// array('foo.bar' => 'baz');
ฟังก์ชัน array_except
ใช้ลบค่า key หรือ value ออกจากอาเรย์
$array = array_except($array, array('keys', 'to', 'remove'));
ฟังก์ชัน array_fetch
จะส่งอาเรย์มิติเดียวที่เรากำหนดได้ว่าจะเอาค่าเฉพาะ คีย์ชื่ออะไร
$array = array(array('name' => 'Taylor'), array('name' => 'Dayle'));
var_dump(array_fetch($array, 'name'));
// array('Taylor', 'Dayle');
ฟังก์ชัน array_first
จะส่งค่าแรกของอาเรย์คืนมา
$array = array(100, 200, 300);
$value = array_first($array, function($key, $value)
{
return $value >= 150;
});
ฟังก์ชัน array_flatten
ทำการแตกอาเรย์หลายมิติลงมาเหลือมิติเดียว
$array = array('name' => 'Joe', 'languages' => array('PHP', 'Ruby'));
$array = array_flatten($array);
// array('Joe', 'PHP', 'Ruby');
ฟังก์ชัน array_forget
ใช้ลบค่าออกจากอาเรย์โดยกำหนดตำแหน่ง ด้วยใช้เครื่องหมายดอท
$array = array('names' => array('joe' => array('programmer')));
$array = array_forget($array, 'names.joe');
ฟังก์ชัน array_get
ใช้ดึงค่าออกจากอาเรย์โดยกำหนดตำแหน่ง ด้วยเครื่องหมายดอท
$array = array('names' => array('joe' => array('programmer')));
$value = array_get($array, 'names.joe');
ฟังก์ชัน array_only
ใช้ดึงค่าจากเฉพาะ key ที่เรากำหนด ได้ค่าเดียว
$array = array('name' => 'Joe', 'age' => 27, 'votes' => 1);
$array = array_only($array, array('name', 'votes'));
ฟังก์ชัน array_pluck
ใช้ดึงค่าตามคีย์ที่กำหนด ได้หลายๆค่า
$array = array(array('name' => 'Taylor'), array('name' => 'Dayle'));
$array = array_pluck($array, 'name');
// array('Taylor', 'Dayle');
ฟังก์ชัน array_pull
ใช้ดึงค่าออกมาพร้อมกับลบไปด้วย.
$array = array('name' => 'Taylor', 'age' => 27);
$name = array_pull($array, 'name');
ฟังก์ชัน array_set
ใช้เพิ่มค่าลงอาเรย์โดยกำหนดที่อยู่โดยใช้เครื่องหมายดอท
$array = array('names' => array('programmer' => 'Joe'));
array_set($array, 'names.editor', 'Taylor');
ฟังก์ชัน array_sort
ใช้เรียงลำดับค่าในอาเรย์
$array = array(
array('name' => 'Jill'),
array('name' => 'Barry'),
);
$array = array_values(array_sort($array, function($value)
{
return $value['name'];
}));
ใช้คืนค่าแรกของ อาเรย์ มีประโยช์มากในการทำการเรียกฟังก์ชันแบบต่อเนื่อง
$first = head($this->returnsArray('foo'));
ใช้คืนค่าสุดท้ายของ อาเรย์ มีประโยช์มากในการทำการเรียกฟังก์ชันแบบต่อเนื่อง
$last = last($this->returnsArray('foo'));
ตัวแปรที่ใช้เก็บค่าที่อยู่ของโฟลเดอร์
เก็บค่าที่อยู่ของโฟลเดอร์ application
เก็บค่าที่อยู่ของเว็บระดับ root เลย
เก็บค่าที่อยู่ของโฟลเดอร์ public
เก็บค่าที่อยู่ของโฟลเดอร์ application/storage
คลาสนี้ ใช้จัดการตัวอักษร เช่นแปลงเป็นตัวใหญ่ รูปแบบไวยกรณ์
แปลงคำให้ขึ้นต้นด้วยตัวใหญซึ่งเรียกว่า camelCase
.
$camel = camel_case('foo_bar');
// fooBar
ใช้ดึงชื่อคลาสจาก namespace path.
$class = class_basename('Foo\Bar\Baz');
// Baz
เรียกใช้ฟังก์ชัน htmlentites
เพื่อกรองค่า
$entities = e('<html>foo</html>');
ใช้ตรวจว่าในประโยคจบด้วยคำที่กำหนดไหม
$value = ends_with('This is my name', 'name');
แปลงคำให้ไปอยู่ในรูปแบบ snake_case
คืออักษรขึ้นต้นคำเป็นตัวเล็กแล้วแบ่งคำด้วยเครื่องหมายอันเดอร์สกอร์
$snake = snake_case('fooBar');
// foo_bar
ใช้ตรวจว่าในประโยคขึ้นต้นด้วยคำที่กำหนดไหม
$value = starts_with('This is my name', 'This');
ใช้ตรวจว่าในประโยคมีคำที่กำหนดไหม
$value = str_contains('This is my name', 'my');
เพิมตัวอักษรที่กำหนดลงไปท้ายคำ
$string = str_finish('this/string', '/');
// this/string/
ตรวจว่าค่าที่ป้อนเข้ามาตรงกับรูปแบบที่กำหนดไหม
$value = str_is('foo*', 'foobar');
แปลงตัวอักษรจากเอกพจน์เป็นพหูพจ์ ปล.เติม s,es,ies
$plural = str_plural('car');
สุ่มตัวอักษรขึ้นมาโดยกำหนดความยาวตามค่าที่ป้อนเข้ามา
$string = str_random(40);
แปลงตัวอักษรจากเอกพจน์เป็นเอกพจน์
$singular = str_singular('cars');
แปลงคำให้ไปอยู่ในรูปแบบ StudlyCase
คืออักษรขึ้นต้นคำเป็นตัวใหญ่ถ้ามีเครื่องหมายอันเดอร์สกอร์ก็ลบออก
$value = studly_case('foo_bar');
// FooBar
ใช้แปลภาษาเหมือนกับใช้ Lang::get
.
$value = trans('validation.required'):
แปลโดยเริ่มต้นจากคำที่กำหนดโดยนับต่อไปตามค่าจากตัวแปร $count เหมือนกับ Lang::choice
.
$value = trans_choice('foo.bar', $count);
เป็นฟังก์ชันที่ใช้จัดการ URL
สร้างลิ้งจาก controller
$url = action('HomeController@getIndex', $params);
สร้างลิ้งจากไฟล์ที่อยู่ในโฟลเดอร์ asset
$url = asset('img/photo.jpg');
สร้างลิ้งโดยกำหนดค่าต่างๆเอง
echo link_to('foo/bar', $title, $attributes = array(), $secure = null);
สร้างลิ้งจากไฟล์ที่อยู่ในโฟลเดอร์ asset
echo link_to_asset('foo/bar.zip', $title, $attributes = array(), $secure = null);
สร้างลิ้งโดยอ้างอิงจากค่า route
echo link_to_route('route.name', $title, $parameters = array(), $attributes = array());
สร้างลิ้งเข้าไปหาฟังก์ชันใน controller
echo link_to_action('HomeController@getIndex', $title, $parameters = array(), $attributes = array());
สร้างลิ้งจากไฟล์ที่อยู่ในโฟลเดอร์ asset โดยใช้ https
echo secure_asset('foo/bar.zip', $title, $attributes = array());
สร้างลิ้งที่เป็น https
echo secure_url('foo/bar', $parameters = array());
สร้างลิ้งจากการกำหนดเอง
echo url('foo/bar', $parameters = array(), $secure = null);
ฟังก์ชันอเนกประสงค์
สร้างค่า hash ที่ใช้ป้องกันการโจมตีแบบ csrf
$token = csrf_token();
ใช้ในการดึงค่าทั้งหมดในตัวแปรออกมาแสดง
dd($value);
ดึงค่าจากฟังก์ชันที่ไม่มีชื่อ
$value = value(function() { return 'bar'; });
ใช้ดึงค่ากลับมาเป็นวัตถุ
$value = with(new Foo)->doWork();